6 สัตว์ทะเลที่เสี่ยงสูญพันธุ์

  • 6 สัตว์ทะเลของไทยที่เสี่ยงสูญพันธุ์
  1. ปลาฉนาก

ปลาฉนาก นับเป็นปลาที่ถือกำเนิดมานานกว่า 100 ล้านปี ที่ไดโนเสาร์นั้นยังมีชีวิตอยู่ รูปร่างของมันนั้นไม่ได้เปลี่ยนแปลงมากนักจากในอดีต ซึ่งจัดเป็นปลาขนาดใหญ่ที่มีรูปร่างคล้ายปลาฉลามจะจัดอยู่ในประเภทเดียวกันกับปลากระเบน มีอวัยวะเด่นคล้ายกระบองแข็งยื่นยาวออกมา มีความยาวประมาณ 1 ใน 3 ของความยาวลำตัวและหาง และรอบส่วนแข็งนั้นมีซี่แหลมเล็กๆอยู่โดยรอบคล้ายใบเลื่อย ใช้ในการป้องกันตัว และใช้นำทางหาอาหาร ทำหน้าที่เหมือนประสาทสัมผัส โดยจะใช้ฟันเลื่อยนี้ตัดอาหาร เช่น ปลาให้เป็นชิ้นเล็กๆ ซึ่งขนาดและจำนวนของซี่ฟันขึ้นอยู่ตามชนิด ซึ่งซี่ฟันแต่ละซี่นั้นอาจยาวได้ถึง 2 นิ้ว แต่ปลาตัวไหน ที่มีจำนวนซี่ฟันเท่าไหร่ ก็จะคงอยู่อย่างนั้นไปตลอดชีวิต สาเหตุของการสูญพันธุ์เพราะถูกคุกคามโดยเรือประมงพ่วงลาก จะนิยมตัดเอาเฉพาะจะงอยปากนั้นมาทำเป็นเครื่องประดับหรือเก็บไว้เป็นของที่ระลึก หรือใช้เป็นอาวุธ ทำให้ถูกลดจำนวนลงอย่างรวดเร็ว ทุกวันนี้ไม่มีใครเห็นปลาฉนากอีกแล้ว อาจจะถึงภาวะที่เรียกว่าสูญพันธุ์จากพื้นที่แล้ว แต่ในต่างประเทศก็ยังคงมีอยู่

  1. ฉลามคลีปเงิน

ปลาฉลามครีปเงิน เป็นปลาฉลามชนิดหนึ่งในวงปลาฉลามคลีปดำ มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 3 เมตร มีลักษณะคล้ายกับปลาฉลามคลีปดำ ซึ่งอยู่ในตระกูลเดียวกัน เพียงแต่ว่ามีปลายคลีปต่างๆเป็นสีขาว หรือสีเงิน เป็นที่มาของชื่อ มันออกลูกเป็นตัวครั้งละ 5-6 ตัว ลูกปลาจะหากินในเขตน้ำตื้น ซึ่งถ้าหากโตขึ้นก็จะลงหากินบริเวณที่ลึกประมาณ 40 เมตร หรือมากกว่านั้น มันสามารถลงไปได้ลึกถึง 400 เมตร ซึ่งจัดเป็นปลาฉลามอีกชนิดนึงที่มีอุปนิสัยที่ไม่ดุร้าย ก้าวร้าวมากนัก จึงเป็นที่ชื่นชอบของบรรดานักดำน้ำ ในน่านน้ำไทยนั้นเคยพบเจอที่หมู่เกาะสิมิลัน เกาะตาชัย หรือบริเวณกองหินที่ห่างไกลจากฝัง แต่ปัจจุบันในหาได้ยากแล้ว สาเหตุเพราะถูกจับเพื่อเอาคลีปไปทำหูฉลาม จึงเป็นฉลามอีกชนิดนึง ที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ไปจากพื้นที่

  1. ปลานกแก้ว

ปลานกแก้วเป็นปลาทะเลขนาดกลางชนิดหนึ่ง ที่มีสีสันสดใสสวยงามมาก ซึ่งเมื่อโตเต็มที่จะมีความยาวลำตัวราว 30-80 เซนติเมตร เป็นปลาที่มีเกล็ดขนาดใหญ่ จะงอยมีปากยืดหดได้ ปากนั้นคล้ายนกแก้ว จึงเป็นที่มาของชื่อปลานกแก้ว และนอกจากสีสันสดใสสวยงามสดุดตา ทั้งฟ้า เขียว ส้ม ชมพูแสมสลับตามลำตัวเป็นสีรุ้งคล้ายนกแก้ว ปลาตัวนี้ยังมีความสำคัญต่อระบบนิเวศตามแนวประการังเป็นอย่างมาก เพราะปลานกแก้วชอบกัดกินสาหร่ายและซากประการังเป็นอาหารจึงสามารถช่วยรักษาแนวประการังให้อุดมสมบูรณ์ แต่เนื่องจากปลานกแก้วนั้นมีรุปร่างที่โดดเด่นสวยงาม จึงมีผู้นิยมจับมาดูเล่นและนำมาทำเป็นอาหาร ทำให้ประชากรปลานกแก้วนั้นลดลงอย่างรวดเร็ว และแน่นอนว่าเมื่อจำนวนของมันลดลงก็ยังส่งผลให้กับระบบนิเวศโดยรวมของทะเลบริเวณนั้นด้วย ปะการังตายมากขึ้นและฟื้นตัวช้า และเมื่อเกิดการฟอกสี เนื่องจากอุณหภูมิน้ำทะเลที่สูงขึ้น ก็จะฟื้นตัวยากหรือตายไปอย่างถาวร จากการศึกษาพบว่าปลานกแก้วนั้น สามารถช่วยให้ประการังที่ฟอกสีกลับคืนสภาพเดิมได้เร็วกว่าปกติถึง 6 เท่าเลยทีเดียว

  1. ปลาการ์ตูน

ปลาการ์ตูน เป็นปลากระดูกแข็งขนาดเล็ก มีสีสันสวยงาม โดยทั่วไปจะประกอบไปด้วยสีส้ม สีแดง สีดำและสีเหลือง และมีสีขาวพาดกลางลำตัว 1-3 แถบ อย่างไรก็ตามแม้จะเป็นชนิดเดียวกัน ก็จะมีสีที่แตกต่างกันเล็กน้อยเสมอ ซึ่งความแตกต่างนี้เอง ทำให้จดจำคู่ของมันได้ ปลาการ์ตูนจะอยู่กันเป็นครอบครัว กินแพลงตอนเป็นอาหาร เป็นปลาที่ห่วงถิ่นมาก พบอาศัยอยู่ตามแนวประการังในบริเวณเส้นศูนย์สูตรทั่วโลก อาศัยอยู่ตามแนวปะการังกับดอกไม้ทะเล ปลาการ์ตูนมักเป็นที่ลักลอบจับกันอย่างมาก รุนแรงถึงขั้นสูญหายกันในหลายพื้นที่ ภายหลังกรมประมงศึกษาทำการเพาะเลี้ยงได้สำเร็จทันท่วงที อีกทั้งกระแสรณรงณ์ให้เลิกซื้อปลาการ์ตูนที่จับมาจากแหล่งธรรมชาติ ทำให้ทุกวันนี้ ถือว่ามีภัยคุกคามน้อยลง และเป็นบนเรียนสำคัญอีกบทนึง สำหรับแวดวงอนุรักษ์สัตว์น้ำ

  1. โลมาอิวรดี

เป็นโลมาชนิดหนึ่ง ซึ่งอยู่ในวงโลมามหาสมุทร รุปร่างหน้าตาคล้ายโลมาทั่วไป แต่มีลักษณะเด่นคือ หัวที่มนกลมคล้ายบาตรพระ ลำตัวสีเทาเข้ม แต่บางตัวอาจมีสีอ่อนกว่า ตานั้นมีขนาดเล็ก ปากอยู่ด้านล่าง คลีปข้างลำตัวแผ่กว้างเป็นรูปสามเหลี่ยม ครีปบนมีขนาดเล็กมาก มีรูปทรงแบนบางคล้ายเคียว มีขนาดประมาณ 180-275 เซนติเมตร น้ำหนัก 3.21 กิโลกรัม ถูกค้นพบครั้งแรกที่แม่น้ำอิวรดีในประเทศพม่า จึงเป็นที่มาของชื่อนี้นั้นเอง โลมาอิวรดี เป็นโลมาน้ำจืดกลุ่มเดียวของไทย อาศัยอยู่ในทะเลทรายสงขลา จังหวัดสงขลา และโดนคุกคามอย่างหนักจากการทำประมงพื้นบ้าน ปัจจุบันหลงเหลืออยู่เพียงแค่ไม่กี่ 10 ตัว คาดว่าอีกไม่เกิน 20 ปี หรืออาจเร็วกว่านั้นจะสูญพันธุ์ไปในที่สุด

  1. วาฬบลูด้า

วาฬบลูด้า เป็นวาฬขนาดใหญ่ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม จุดเด่นที่คลีปหลังที่มีรุปโค้งอยู่ค่อนไปทางด้านปลายหาง แพลนหางวางตรวจตามแนวราบและมีรอยเว้าเข้าตรงกึ่งกลาง ซี่คู่หน้ามีปลายแหลม ซี่บนแผ่นกรองค่อนข้างหยาบ พบบ่อยในบริเวณใกล้ฝั่งอ่าวไทยตอนใน ตั้งแต่ชายฝั่งสมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี จนถึงประจวบคีรีขันธ์ โดยเฉพาะพื้นที่บ่อนอก แหลมผักเบื้ย บางตระบูล โคกขามเป็นต้น วาฬบลูด้าเป็นชนิดที่ถูกพบบ่อยที่สุดและตกเป็นข่าวบ่อยที่สุดและได้สูญพันธุ์ สาเหตุเพราะชอบลอยมาติดอวนชาวประมงจนบอบช้ำและตาย ปัจจุบันลงเหลือไม่ถึง 100 ตัว จนได้รับการคุมครองเป็นสัตว์ป่าสงวนตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า ปีพุทธศักราช 2562 ห้ามมีการค้าขายวาฬบลูด้าระหว่างประเทศ

Bactocel 5001  ผลิตภัณฑ์ชีวภาพกำจัดของเสียและรักษาสภาพน้ำในบ่อปลา
แบคโตเซล 5001 คือ กลุ่มของแบคทีเรียที่มีประโยชน์ ช่วยย่อยทำลายเศษอาหารสารแขวนลอย ทั้งที่ละลายน้ำ และไม่ละลายน้ำให้สลายตัวหมดไป ตู้ปลาจะสะอาดไม่มีตะไคร่น้ำจับ สำหรับบ่อปลาจะไม่มีเน่าที่ก้นบ่อ นอกจากนั้นยังสามารถใช้ได้กับสัตว์น้ำอื่นๆ เช่น กบ,ตะพาบน้ำ, กุ้งก้ามกราม,กุ้งกุลาดำ และจระเข้ เป็นต้น

คุณสมบัติ
1.      ลดการเปลี่ยนถ่ายน้ำ
2.     รักษาความสดใสของน้ำในตู้ปลา
3.     กำจัดแอมโมเนียและไนไตร์
4.     ป้องกันโรคที่เกิดกับปลา
5.     ปลอดภัยกับคนและสัตว์เลี้ยงทุกชนิด

วิธีการใช้ 
วิธีการใช้งานสำหรับบ่อปลาขนาดเล็ก (ตู้ปลา/ อ่างปลา)
ใช้ Bactocel 5001 ในอัตรา 10 CC+ 400 ML
หากน้ำกำลังเสีย ให้ใส่ติดต่อกันทุกวัน จนกว่าน้ำจะใสสะอาด

บ่อขนาดกลาง 1 – 4 ไร่
ใช้ Bactocel 5001 ในอัตรา 200 -300 cc

  • บ่อปลาคราฟ ไม่เกิน 7 เมตร โดยประมาณ โดยใส่ทุกๆ 7 วัน
  • บ่อปลาทั่วไป (บ่อดิน) ใช้ 300 CC เทลงบ่อไม่เกิน 1 ไร่

*ขึ้นอยู่กับสภาพน้ำและปริมาณปลา

บ่อขนาดใหญ่ 5- 20 ไร่
ใช้ Bactocel 5001 อัตรา 350-500 Ccต่อบ่อ 1 ไร่ โดยใส่ทุก ๆ 10 วัน
(ถ้าน้ำเสียมากๆหรือต้องการเร่งด่วน ใส่ 5 วันครั้ง)

  • อัตรา 500-1000 Cc ต่อบ่อ 1ไร่ขึ้นไป

(ถ้าน้ำเสียมากๆหรือต้องการเร่งด่วน ใส่ 4 วันครั้ง)
** หากบ่อมีขนาดกว้างมากและน้ำเน่าเสียหนัก เช่นสระวัด บ่อน้ำขนาดใหญ่ ต้องใช้ปริมาณ 12 ขวด
ขึ้นไปจึงจะเห็นผลที่ชัดเจนขึ้นภายใน 30 วัน

คำเตือน ไม่ควรใช้กับยาฆ่าเชื้อยา)ฏิชีวนะ และสารเคมีทุกชนิดหากจำเป็นต้องใช้ยาและสารเคมีดังกล่าว ควรใช้ แบคโตเซล 5001  หลังจากใช้ยาและสารเคมี 3-5 วัน

ขนาดบรรจุ ; 300cc/1000cc/5000cc

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *